Thai PBS (2562, ย่อหน้าที่ 3,4) ได้รายงานอันมีใจความสำคัญ ของความร่่วมมือและเสนอจาก ภาครัฐและเอกชนดังนี้ 

 “ผู้สื่อข่าวรายงานว่า กระทรวงทรัพยากรฯ เตรียมเสนอกฎหมายการงดใช้พลาสติกให้ ครม.พิจารณา คำว่าการงดใช้พลาสติก ไม่ได้แปลว่าจากนี้ประเทศไทยจะไม่มีพลาสติกอีกแล้ว แต่พลาสติกบางจำพวกที่ไม่สามารถนำกลับมาใช้ใหม่ หรือไม่สามารถย่อยสลายได้ จะต้องทำให้หมดไปจากทั่วประเทศไทย 100% ตั้งแต่วันที่ 1 ม.ค.2564 โดยจะเริ่มนำร่องกับกลุ่มผู้ประกอบการค้าปลีกค้าส่ง และร้านสะดวกซื้อจำนวน 43 บริษัทเครือใหญ่ในประเทศไทย ด้วยการเลิกแจกถุงพลาสติกให้ลูกค้า 100% ที่มาซื้อของตั้งแต่วันที่ 1 ม.ค. 2563 เป็นต้นไป 

นายวราวุธ กล่าวว่า ปัญหาขยะถุงพลาสติกเป็นเรื่องที่พูดกันมานานแล้ว ขณะนี้ถึงเวลาแล้วที่การใช้ชีวิตประจำวันของคนไทยจะต้องเปลี่ยนไป ขอให้พกถุงผ้าและใช้กระเป๋าติดตัว กระทรวงทรัพยากรฯ เตรียมเสนอกฎหมายการงดใช้พลาสติกให้ ครม.พิจารณา คำว่าการงดใช้พลาสติก ไม่ได้แปลว่าจากนี้ประเทศไทยจะไม่มีพลาสติกอีกแล้ว แต่พลาสติกบางจำพวกที่ไม่สามารถนำกลับมาใช้ใหม่ หรือไม่สามารถย่อยสลายได้ จะต้องทำให้หมดไปจากทั่วประเทศไทย 100% ตั้งแต่วันที่ 1 ม.ค.2564 โดยจะเริ่มนำร่องกับกลุ่มผู้ประกอบการค้าปลีกค้าส่ง และร้านสะดวกซื้อจำนวน 43 บริษัทเครือใหญ่ในประเทศไทย ด้วยการเลิกแจกถุงพลาสติกให้ลูกค้า 100% ที่มาซื้อของตั้งแต่วันที่ 1 ม.ค. 2563 เป็นต้นไป “

จากบทความดังกล่าวแสดงให้เห็นได้ว่า สถานการ ที่อาจส่งผลกระทบต่อ สถานะของภาคอุตสาหกรรมหรือธุรกิจ ในกลุ่มของ รียูช (Reuse) หรือ รีไซเคิล (Recycle) รวมถึงกิจการ ขนาดย่อม ที่มีกระบวนการผลิต ที่อยู่กระบวนการรีไซเคิล (Recycle) หรือ การนำกลับมาใช้ใหม่จากขยะมูลฝอยประเภทพลาสติก ที่สามารถนำกลับมาทำการ รีไซเคิล (Recycle)ทั้งหมด 7 ชนิดได้แก่

1. โพลีเอทิลีน เทอร์ฟะธาเลต (Polyethylene Terephthalate : PETE)

2. โพลีเอทิลีนความหนาแน่นสูง (High-density Polyethylene : HDPE) 

3. โพลีไวนิลคลอไรด์ (Polyvinyl Chloride : PVC)

4. โพลีเอทิลีนความหนาแน่นต่ำ (Low-density Polyethylene : LDPE)  


5. โพลีโพรพิลีน (Polypropylene : PP)

6. โพลีสไตรีน (Polystyrene : PS)

7. พลาสติกอื่น ๆ (Other)

ซึ่งแรงขับเคลื่อนจากกระแสสังคมและเกิดการตอบรับจากภาครัฐ และการร่วมมือของเอกชนต่างๆ รับข้อเสนอในนโยบายเพื่อตอบสนอง เพื่อสังคมและส่วนร่วน มุ่งจุดประสงค์ในการเป็นแกนนำรณรงต่อความรับผิดชอบด้านมลภาวะและสิ่งแวดล้อมที่เจนอย่างเอาจริงเอาจัง

แน่นอนว่า ปัจจัยดังกล่าว อาจเป็นจุดเริ่มต้น ทำให้เกิด

  • การขยายตัว
  • ปรับกลยุท 
  • วางแผน 
  • กำหนดนโยบาย 

ภายในภาคอุตสาหกรรมหรือธุรกิจในกลุ่มของ รียูช (Reuse) หรือ รีไซเคิล (Recycle) รวมถึงกิจการ ขนาดย่อม

ที่มีกระบวนการผลิต จากรีไซเคิล (Recycle) เพื่อเตรียมรับมือ การหลั่งไหลของมวลวัตถุดิบ ในอนาคตอย่างมหาศาล 


อ้างอิงจาก

บมจ.ธนาคารกรุงเท.(2558).7ประเภทพลาสติกมีค่าแยกก่อนทิ้งนำไปรีไซเคิลต่อได้ .ค้นเมื่อ 05    
  สิงหาคม 2564,www.bangkokbanksme.com/en/plastic-type-separated-before-discarded-recycled

องค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทย. (2562). ดีเดย์ 1 ม.ค.64 ไทยเลิกแจก " 
  ถุงพลาสติก"ทั่วประเทศ.ค้นเมื่อ 04 สิงหาคม 2564, https://news.thaipbs.or.th/content/283923

บ.พรอดดิจิ.(2564). 7 ประเภทพลาสติก ใช้แล้วควรแยกก่อนทิ้ง เพราะเอาไปรีไซเคิลต่อได้.ค้นเมื่อ 02 สิงหาคม 2564,                                                                                                  
  https://prodigy.co.th/th/%e0%b8%ab%e0%b8%99%e0%b9%89%e0%b8%b2%e0%b9%81%e0%b8%a3%e0%b8%81/

#พลาสติกรีไซเคิล #พลาสติกรีไซเคิลทุกประเภท #ธุรกิจเกี่ยวกับอุตสาหกรรมรีไซเคิล #วัดถุดิบจากพลาสติกรีไซเคิล

บทวิเคราะห์เทรนการรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมและธุรกิจกลุ่มพลาสติกรีไซเคิล

ใส่ความเห็น